แบบฝึกหัดที่ ๑ : ให้ตอบคำถามต่อไปนี้
๑. ให้นักศึกษานำเอาข้อความที่ให้ไว้ข้างบนไปเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์
การก, สนธิ, สมาส,
สัพพนาม, อักขรวิธี, อาขยาต,
อุณาทิ, กิตก์,
การก, ตัทธิต, นาม วจีวิภาค, วากยสัมพันธ์, ฉันทลักษณ์
๑.๑
ภาษาบาลีต้องอาศัยโครงสร้างแห่งคำพูด ๑๐ ประการคือ
๑)................................๒)..............................๓)................................๔)......................................๕).................................๖)...............................๗)...............................๘).....................................
๙)..................................๑๐)...............................
๑.๒ ทั้ง ๑๐ ประการว่าด้วยหลักใหญ่ๆ
มีอยู่ ๔ ภาคคือ
๑)
.......................................๒)..................................๓)..................................๔)..........................
(๑) อักขรวิธีว่าด้วยอักขระมีกี่อย่าง
อะไรบ้าง ?
ก. ๒ อย่างคือ นาม อัพพยศัพท์ ข. ๒ อย่างคือ สมาส ตัทธิต
ค. ๒ อย่าง กิตก์
กิริยากิตก์ ง. ๒ อย่าง
คือ สมัญญาภิธาน สนธิ
(๒)
วากยสัมพันธ์ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. การเขียนการอ่านออกเสียง ข.
การเชื่อมการต่ออักษรให้ติดเนื่องกัน
ค. วิธีการเรียงคำการก ง. วิธีร้อยกรองคำพูด
(๓)
ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่กลุ่มคำของวจีวิภาค ?
ก. สัพพนาม ข. อุณาทิ
ค. การก ง. สนธิ
(๔)
นักปราชญ์ทางภาษาบาลีท่านให้ความหมายของคำว่า “อักขระ” ว่าอย่างไร ?
ก.
เป็นเสียงของพยัญชนะ ข. เป็นเสียงของสระ
ค.
ไม่รู้จักจบไม่รู้จักสิ้น ง. ข้อ ก. ข. ถูกต้อง
(๕) สมัญญาภิธานว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. การต่ออักษร ข.
การแสดงชื่อสระและพยัญชนะ
ค. การแบ่งคำพูด ง.
วิธีการร้อยกรองคำพูด
(๖) สนธิว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. การต่ออักษร ข.
การแสดงชื่อสระและพยัญชนะ
ค. การแบ่งคำพูด ง.
วิธีการร้อยกรองคำพูด
(๗) อักขระตัวใดที่ไม่ใช่สระแท้ที่เกิดการผสมกัน ?
ก. อา ข. อี ค. อู ง. โอ
(๘)
สระทั้ง ๘ ตัว เราเรียกชื่อว่า อย่างไร ?
ก. นิสสัย
ข. นิสสิต ค. ทีฆะ ง. รัสสะ
(๙) สระ ๒ ตัว คือ เอ, โอ
มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง ท่านกล่าวว่าเป็น...............
ก. ทีฆะ ข. รัสสะ ค. ครุ ง. ลหุ
(๑๐) ฉันทลักษณ์มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก. การเขียนการอ่านออกเสียง ข.
การเชื่อมการต่ออักษรให้ติดเนื่องกัน
ค. วิธีการเรียงคำการก ง. วิธีร้อยกรองคำพูด
เฉลยแบบฝึกหัดที่ ๑
๑.๑ ๑. อักขรวิธี ๒. สนธิ ๓. นาม ๔. อัพยยศัพท์ ๕. สมาส ๖. ตัทธิต ๗. อาขยาต
๘. กิตก์ ๙. อุณาทิ และ ๑๐. การก (Case -เคซ)
๑.๒ ภาคที่ ๑. อักขรวิธี
ภาคที่ ๒. วจีวิภาค
ภาคที่ ๓. วากยสัมพันธ์
ภาคที่ ๔. ฉันทลักษณะ